การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ต้องเอามาประกอบ
จากภาพ สิ่งที่ต้องมี คือ
-เมนบอร์ด(แผงวงจรใหญ่ๆมีสล็อตส้มๆเหลืองๆ)พร้อมฝาหลังเคส ฝาหลังวางอยุ่ตรงหลังพัดลมCPU -CPU(ชิพสีเงินๆ ใกล้พัดลม) -พัดลมระบายความร้อนCPU(จะมาพร้อมCPU) -แรม แผงเขียวๆวางติดกัน 2 อัน ในที่นี้เป็น512*2 บัส533 -ซีดีรอมไดร์ฟ หรือ ดีวีดีไรท์เตอร์ไดร์ฟ (ขวามือ หน้ากากสีดำ ตัวเทาๆ) -ฮาร์ดดิกส์ไดร์ฟ (วางอยุ่บนดีวีดีไรท์เตอร์ไดร์ฟ) -สาย สัญญาณ SATA ตามจำนวนฮาร์ดดิกส์ ในที่นี้ มี2เส้น เพราะHDDและ DVD-RW drive ใช้สายSATA แต่ถ้าHDDหรือ ไดร์ฟDVDเป็นสายแบบ IDE ก็ต้องสายแบบIDE(ยกเว้นใช้ตัวแปลงSATA>>IDE) -น็อตสกรู น็อตทองที่ใช้ยึดรองเมนบอร์ด แผ่นแหวนรองน็อตสีแดงๆ น็อตนี้ จะได้มาเยอะพอสมควร โดยจะได้มาจากเคส -นอกภาพ คือ เคส-เพาเวอร์ซัพพลาย ถ้า เคสจำพวก Full tower มี่ยี่ห้อ เช่นraidmax หรือ cooler master/Thermaltake มักจะไม่มีเพาเวอร์มาให้ เพราะออกแบบมาใช้กับคอมพิวเตอร์ระดับ advance ที่ใช้พลังงานสูง โดยต้องเลือกซื้อเพาเวอร์มาใช้เอง ถ้า เคสที่ซื้อ มีเพาเวอร์อยุ่แล้ว สามารถซื้อเพาเวอร์มาเปลี่ยนแทนได้ โดยเพาเวอร์เกรดต่ำ(แบบเดียวกับที่แถมเคสระดับไม่ถึงพัน)ประมาณ3-5ร้อย วัตต์ไฟที่จ่ายได้จะไม่เต็ม เช่นของdtech แบบธรรมดา ของP&A และยี่ห้ออื่นๆเช่นFRND และเกรดกลางๆ(แบบเดียวกับที่แถมเคสระดับพันต้นๆถึง2พัน)ประมาณ6-7ร้อยบาท เช่นของdeluxe แบบธรรมดา ของdtechแบบอย่างดี และระดับสูง ราคาพันว่าขึ้นไป ส่วนใหญ่จะ1500-2000+ เช่นEnemax Thermaltake Enchance Silverstone แบบหลังเหมาะกับ system ที่ต้องการความสเถียร หรืออุปกรณ์เยอะๆเช่น HDD-กาณืดจอหลายตัว
เครื่องมือที่ใช้
-ไขควงหัวแฉก คือ อันด้ามแดง
-ไขควงแบน คือ อันด้ามเขียว -ชุดไขควงเล็ก 5 ตัว -คีมปากจิ้งจก อันสีส้มๆ -คีมตัด อันสีน้ำเงิน (ไม่จำเป็น แต่ถ้ามีการใช้เข็มขัดรัดสายจะดีกว่ากรรไกร-คัตเตอร์ตัด) -เข็มขัดรัดสาย ห่อขาวๆ ไม่จำเป็นต้องซื้อมาเยอะ หาซื้อจากร้านอิเล็กได้ทั่วไป -ซิลิโคน อันนี้แบบธรรมดา หรือจะแบบดีๆก็จะแพงขึ้น เช่นMX-1 Arctic silver ถ้าไม่OC แบบธรรมดาก็สามารถใช้งานได้ -บัตร เติมเงิน(พลาสติก) บัตรพลาสติก ที่เติมเงินเกมส์ออนไลน์ หรือโทรศัพท์ก็ได้ หรือพวกบัตรเครดิตที่ใช้ไม่ได้แล้ว เอามาปาดซิลิโคนให้บางเป็นหน้าเดียวกัน! -คัตเตอร์(ไม่ได้มีความจำเป็น เหมาะกับใช้เวลาตัดกรีดห่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่แกะกล่องมา)
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยตนเอง ปัจจุบันไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป
ซึ่งเราสามารถหัดประกอบด้วยตนเองได้ โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นแรกให้เตรียมอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ไขควงสี่แฉก กล่องสำหรับใส่น็อต คู่มือเมนบอร์ด คีมปากจิ้งจก นำซีพียูมาใส่ลงไปในซ็อกเก็ตโดยให้วางตำแหน่งขาที่ 1 ของซีพียูและซ็อกเก็ตให้ตรง กัน โดยสังเกตว่าที่ขาที่ 1 ของซีพียูจะทำเครื่องหมายเป็นจุดเล็กไว้ที่มุมด้านบนของ ซีพียู เดิม แล้วนำซิลิโคนมาทาตรงบริเวณคอร์ (แกน) ของซีพียู และไม่ควรทาซิลิโคนให้ หนา หากเห็นว่าหนาเกินไปให้ใช้กระดาษหรือแผ่นพลาสติกมาปาดออกเสียบ้าง ในขั้นตอนนี้มีจุดที่ต้องระวังอยู่ 2 จุดคือ การติดตั้งฮีทซิงค์ของพัดลมจะต้องแนบ สนิทกับคอร์ของซีพียู อย่าพยายามกดแรงไป บางทีคอร์ของซีพียูอาจบิ่นได้ ส่วนขา สปริงที่ยึดพัดลมบางทีมันแข็งเกินไป บางคนใช้ไขควงพยามยามกดขาสปริง ให้เข้าล็อก ซึ่งอาจทำให้พลาดไปขูดเอาลายปริ้นบนเมนบอร์ดขาดทำให้เมนบอร์ด อาจเสียหายได้ จึงกดลงไปจนด้านล็อกทั้ง 2 ด้านดีดขึ้นมา (บางเมนบอร์ดตัวล็อกทั้งสองด้าน อาจไม่จำเป็นต้องดีดขึ้นมาก็ได้ให้ดูว่าเข้าล็อกกันก็พอ) เมนบอร์ดเข้ากับตัวเคสให้ครบทุกตัว ปลั๊กของสายเพาเวอร์ซัพพลายตรงล็อกกับขั้วต่อบนเมนบอร์ด ให้แน่น หรือด้านที่ติดกับขั้วสายไฟ จากนั้นจึงเสียบสายไฟและสายสัญญาณเสียงเข้าไปด้วย โดยแถบสีแดงตรงกับขาที่ 1 ของขั้วต่อด้วย ที่ติดกับขั้วสายไฟ จากนั้นจึงเสียบสายไฟเข้าไปด้วย สีแดงตรงกับขาที่ 1 ของขั้วต่อด้วย
18. สอดไดรฟ์ฟล็อบปี้ดิสก์เข้าไปในช่องติดตั้ง แล้วขันน็อตยึดกับตัวเคส
ให้แน่น
19. เสียบสายไฟเข้ากับขั้วต่อสายไฟของฟล็อบปี้ดิสก์ ให้สังเกตสายไฟของ
ฟล็อบปี้ดิสก์จะมีหัวขนาดเล็กกว่าสายไฟของซีดีรอมและฮาร์ดดิสก์ และซีดีรอม) ให้ด้านที่มีการไขว้สายเข้ากับขั้วต่อไดรฟ์ฟล็อบปี้ดิสก์ โดยแถบสีแดง ของสายแพต้องตรงกับขาที่ 1 ของขั้วต่อด้วย หากใส่ผิดด้านไฟของไดรฟ์ ฟล็อบปี้ดิสก์จะติดตลอด วิธีแก้ไขคือให้หันสายแพกลับด้านเพราะไดรฟ์ฟล็อบปี้ดิสก์ บางยี่ห้ออาจต้องใส่สลับด้านกัน สีแดงตรงกับขาที่ 1 หรือ pin1 ของขั้วต่อด้วย สถานะเปิดเครื่อง ไฟบอกสถานะฮาร์ดดิสก ปุ่ม Reset ลำโพง ลงบนเมนบอร์ด ควรดูคู่มือเมนบอร์ดประกอบด้วย โดยต้องเสียบขั้วให้ถูกหากผิดขั้ว คอมพิวเตอร์ จะไม่ติดหรือมีไฟค้างตลอดเวลา วิธีแก้ไขคือให้เราลองสลับขั้วและเปิดเครื่องขึ้น มาใหม่ ตกค้างอยู่บนเมนบอร์ดหรือไม่ เพราะอาจทำให้เกิดกระแสไฟลัดวงจรจนเกิดความ เสียหายต่อเมนบอร์ดและอุปกรณ์ต่างๆ บนเมนบอร์ดได้ นอกจากนี้ควรตรวจสอบ การติดตั้งทั้งหมดว่าเรียบร้อยดีแล้ว เช่น การ์ดต่างๆ หรือสายสัญญาณเสียบ แน่นหนาดีหรือยัง โดยเฉพาะฮีทซิงค์และพัดลมต้องแนบสนิทกับซีพียู พร้อมทั้งล็อก ติดกันอย่างแน่นหนา |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น